^ Back to Top

การแข่งขัน PANTIP ROBOT CONTEST 2013 ครั้งที่ 2

การแข่งขัน PANTIP ROBOT CONTEST 2013 ครั้งที่ 2

ศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์ พลาซ่า บางกะปิ ร่วมกับ ยุวสมาคมแห่งประเทศไทย ธนบุรี ขอเชิญนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชนทั่วไป เข้าร่วมการแข่งขัน PANTIP ROBOT CONTEST 2013 ครั้งที่ 2 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม - 1 กันยายน 2556 หมดเขตส่งใบสมัคร 16 สิงหาคม 2556

วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นการให้นักเรียนได้หันมาใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
2. ให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการออกแบบวงจรหุ่นยนต์, ออกแบบโครงสร้าง, เรียนรู้วงจรอิเล็กทรอนิกส์
3. ให้นักเรียนโรงเรียนที่ยังไม่เคยมีโอกาสเข้าแข่งได้มีโอกาสเข้าร่วมการแข่ง
4. เป็นรปูแบบการฝึกการเรียนรู้ใู้ห้แ้ก่นักเรียน สร้า้งใหนักเรียนได้มีเีป้าหมาย มีแีรงจงูใจ ความตั้งใจ การช่วยเหลือกันเป็นทีม
5. เพื่อเป็นการส่งเสริม และต่อยอดการจัดกิจกรรมหุ่นยนต์จากครั้งที่ 1 ให้เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น

วัน / เวลา / สถานที่
•  29 สิงหาคม 2556
10.00 – 12.00 น. - อบรมวิธีการทำหุ่นยนต์และอธิบายกติกาการแข่งขัน (โรงเรียนในโครงการฯ)
13.00 – 15.00 น. - อบรมวิธีการทำหุ่นยนต์และอธิบายกติกาการแข่งขัน (โรงเรียนทั่วไป)
* หมายเหตุ: ในวันอบรม ทางโรงเรียนจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ชุดบัดกรี อาทิ หัวแร้ง, ตะกั่ว ฯลฯ ประกอบการอบรมฯ
•  30 สิงหาคม 2556 เวลา 10.00 - 17.00 น. - การแข่งขัน ประเภท Division 1 รุ่น Open ประชาชนทั่วไป 
- การแข่งขัน ประเภท Division 2 ระดับประถมศึกษา 
•  31 สิงหาคม 2556 เวลา 10.00 - 17.00 น. การแข่งขัน ประเภท Division 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
•  1 กันยายน 2556 เวลา 10.00 - 17.00 น. การแข่งขัน ประเภท Division 2 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สถานที่ : ศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า สาขาบางกะปิ กรุงเทพฯ

รายละเอียดวิธีการดำเนินงาน
ประเภทการแข่งขัน
1. Division 1 ประเภทไม่จำกัดอุปกรณ์และ gate ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหุ่นยนต์ BEAM
Open สำหรับนิสิต นักศึกษา ทุกระดับชั้น และประชาชนทั่วไป
•  รางวัลชนะเลิศ ถ้วยรางวัลเกียรติยศ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมทุนการศึกษา 12,000 บาท
•  รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ถ้วยรางวัลเกียรติยศ ปลัดกรุงเทพมหานคร พร้อมทุนการศึกษา 8,000 บาท
•  รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ถ้วยรางวัลเกียรติยศ ผู้อำนวยการสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร พร้อมทุนการศึกษา 5,000 บาท
•  รางวัลความคิดสร้างสรรค์ ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร และของที่ระลึก
2. Division 2 ประเภทจ ำกัดอุปกรณ์ Logic ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหุ่นยนต์ BEAM 
แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ประถมศึกษา , มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย
•  รางวัลชนะเลิศ ถ้วยรางวัลเกียรติยศ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พร้อมทุนการศึกษา 8,000 บาท
•  รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ถ้วยรางวัลเกียรติยศ ปลัดกรุงเทพมหานคร พร้อมทุนการศึกษา 4,000 บาท
•  รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ถ้วยรางวัลเกียรติยศ ผู้อำนวยการสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร พร้อมทุนการศึกษา 2,000 บาท
•  รางวัลความคิดสร้างสรรค์ เกียรติบัตร พร้อม ของที่ระลึก

หมายเหตุ:
•  ข้อบังคับ และกฎกติกาเพิ่มเติม อาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม และเห็นสมควรของคณะกรรมการตัดสิน
•  การแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 รอบในแต่ละประเภท คือ (เช้า) รอบคัดเลือก (บ่าย) แพ้คัดออก และรอบตัดสิน
•  การแข่งขันจะใช้ 3 สนาม แบ่งเป็น สนามทดสอบ 1 สนาม และ สนามแข่งส าหรับแข่งขัน 2 สนาม
•  รูปแบบการแข่งขัน (เอกสารแนบ 1)
•  กติกาการแข่งขัน (เอกสารแนบ 2)

กฎและกติกาการแข่งขนั หุ่นยนต์
การแข่งขันหุ่นยนต์บีม (BEAM) หมายถึง การนำวัสดุโดยไม่จำกดัประเภทวสัดุมาประกอบเป็นหุ่นยนต์ เคลื่อนไหวด้วยสวิทซ์เปิด-ปิด และทำงานแบบเคลื่อนที่เคลื่อนไหวเพื่อควบคุมการทำภารกิจแบบอัตโนมัติโดยเชื่อมต่อกับมอเตอร์ระหวา่่งการแข่งขันห้า้มใช้อุปกรณ์ควบคุมใดๆ ทั้งแบบมีสาย ไร้สาย หรือแบบสัญญาณวิทยุในการส่งสัญญาณไปยังหุ่นยนต์ ห้า้มเขียนโปรแกรม โดยไม่ต้องมีการให้เขียนโปรแกรมบังคับ แต่ให้หุ่นยนต์บีม (BEAM) ทไงานด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ออกแบบมาโดยหุ่นยนต์จะตัองทำการเกาะเส้นทางเขา้เส้นชัย

คุณสมบัติของผู้เข้าแข่งขันและกติกาการสมัคร
1. ประเภท
•  Division 1 : นิสิต, นักศึกษา ทุกระดับชั้น และประชาชนทั่วไป (ไม่จำกัดอุปกรณ์)
•  Division 2 : นักเรียน ที่กำลังศึกษาอยู่ใู่นระดับประถมศึกษา, มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) / จำกัดสเปควงจร และอุปกรณ์ ตามเกณฑ์โดยใช้ Gate และ Logic ซึ่งเป็นอุปกรณ์ชิ้นส่วนของหุ่นยนต์ Beam เป็นเกณฑ์การแยก Division
2. สมคัรแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 3คน เป็ นทีมชาย, ทีมหญิง หรือผสมชาย – หญิงและคละระดบั ช้นัได้ท้งัน้ี
3. มีอาจารย์ที่ปรึกษาได้ทีมละ 1 คน อาจารย์ 1 คน สามารถเป็นที่ปรึกษาไดม้ากกวา่ 1 ทีม
4. รับสมคัรไมจำกัดจำนวนทีม
5. ส่งใบสมคัรภายในวันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2556

การจัดหาอุปกรณ์เพื่อการแข่งขัน
1. สำหรับโรงเรียนใดที่มีหุ่นยนต์ก็ให้นำมาในวันแข่งขัน หากทางโรงเรียนใดไม่มีหุ่นยนต์ ทางผจู้ดัจะเตรียมหุ่นยนต์ไ์ว้ใ้ห้ (โดยสั่งซ้ือหุ่นยนตกับทางผู้จัดก่อนการแข่งขัน พร้อมสมคัรการแข่งขัน) 
2. ผู้แู้ข่งขันควรจัดหาถ่านไฟฉาย AA ชนิด alkaline เพื่อใช้ในการทดสอบและการแข่งขันมาด้วย (ทางผู้จัดไม่สามารถจัดหาให้ไ้ด้)
3. ทางผู้จัดจะจัดการอบรมการออกแบบหุ่นยนตบีม์ (BEAM) และการเชื่อมต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์, การให้ความรู้เรื่องเซนเซอร์, ค่าความต้า้นทาน, ตลอดจนอุปกรณ์ที่ให้หุ่นยนต์สามารถเกาะเส้นได้ก่อนวันทำการแข่งขนั 1 วันโดยจะยึดอุปกรณ์ของผู้จัดเป็นเกณฑ์ เ์พื่อสะดวกต่อการอบรม แต่ในขณะเดียวกันทางผู้เูู้้ข้า้แข่งขันทุกคนสามารถจัดเตรียมอุปกรณ์หุ่นยนตบีม์ (BEAM) มาเองได้ โดยทางผู้จัดจะบอกระยะห่างของเส้นที่ให้เซนเซอร์อ่าน
4.ผู้เู้ข้า้แข่งขันไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ในการสมัครเข้า้แข่งขัน ในกรณีผู้เู้ข้า้แข่งขัน เดินทางมาจากต่างจังหวัด (นอกเขตกรุงเทพ) จะต้องออกค่าใช้จ่ายในการเดินทางและค่าที่พักเอง

แนวทางการแข่งขันและการตัดสิน
1. ผู้เู้ข้า้แข่งขันจะต้องออกแบบวงจรหุ่นยนตบีม์ (BEAM) อะไรก็ได้ที่สามารถควบคุมให้หุ่นยนต์ทำงานได้ โดยการแข่งขันจะกำหนดใหเ้ป็นสนามที่มีการนำเซ็นเซอร์มาประกอบในการแข่งขันซึ่งจะเป็นการจำลองสนามการแข่งขันแบบทางการ แข่งรถทางเรียบ โดยจะแข่งหุ่นยนต์คร้ังละ 4 ตัว เพื่อให้นักเรียนได้ออกแบบวงจรบังคับหุ่นยนต์ให้วิ่งเข้า้เส้นชัยก่อนเป็นฝ่ายชนะ หรือทำเวลาได้ดีกว่า่
2. หุ่นยนต์ที่จะแข่งขันทางโรงเรียนสามารถนำมาเองได้โดยไม่จำกัดเซ็นเซอร์ แต่ขนาดของหุ่นยนต์ควรออกแบบให้มีความคล่องตัวสูงและมีความเร็วในการวิ่ง
3. การแข่งขัน ผู้สมัครจะต้องเลือก Division ที่เหมาะสมกับหุ่นยนต์ของตนเอง ซึ่งการแข่งขันจะคัดแยกประเภท ผู้เข้าร่วมแข่งขันเป็น 2 Division โดยกรรมการสนาม จะตรวจสอบวงจรของหุ่นยนต์เป็นหลัก โดยใช้ Gate และ Logic ซึ่งเป็นอุปกรณ์ชิ้นส่วนของหุ่นยนต์ Beam เป็นเกณฑ์การแยก Division
4. การแข่งขันจะใช้รูปแบบแพ้คัดออก ในแต่ละ Division สำหรับรอบแรกและพบกันหมดในรอบสอง แล้วแพ้คัดออก

ส่งใบสมัครทางโทรสาร 02-187-3003 ภายในวันที่ 16 สิงหาคม 2556

File attachments: 
Deadline: 
09 Aug 2013 10:00 to 16 Aug 2013 16:00

Members Online

There are currently 0 users online.