^ Back to Top

สัมมนา "Between Geo-Bodies and the Unforgetting"

สัมมนา "Between Geo-Bodies and the Unforgetting"

หอศิลป์บ้านจิมทอมป์สัน ร่วมกับ The Japan Foundation Asia Center ขอเชิญผู้สนใจ เข้าร่วมสัมมนา "Between Geo-Bodies and the Unforgetting" โดย ธงชัย วินิจจะกูล, Irwan Ahmett, Tita Salina, Kumiko Idaka และ Mark Teh ในวันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 14:00 น. ณ ห้องไอยรา, พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน

Symposium
Between Geo-Bodies and the Unforgetting
with Thongchai Winichakul, Irwan Ahmett, Tita Salina, Kumiko Idaka, and Mark Teh
Saturday, 1 February 2020, 14.00 - 17.00
Ayara Hall, Jim Thompson House

As the concluding event in The Breathing of Maps project which has been presented in Yamaguchi and Tokyo, Japan and in Chiang Mai, this symposium will feature reflections by curators Kumiko Idaka and Mark Teh, and a talk on mapping, power and the geo-body by eminent historian Thongchai Winichakul – whose groundbreaking book Siam Mapped(1994) served as a conceptual compass for the project, alongside Japanese folklorist Tsuneichi Miyamoto (1907-1981)’s The Forgotten Japanese: Encounters with Rural Life and Folklore (2010).

In the final part of the symposium, Thongchai, Kumiko and Mark will be joined by Jakarta-based artists Irwan Ahmett and Tita Salina to discuss the issues of traumatic and inconvenient histories across Indonesia, Japan, Malaysia and Thailand, and its relationship to ‘the unforgetting’. The unforgetting is a term coined by Thongchai in his forthcoming book – as an inability to rememberor to forget. Suspended in this liminal state, these are experiences that have to be repressed or suppressed because they do not cohere to articulating socially meaningful memories under existing regimes of truth.

This symposium is organized by Jim Thompson Art Center and The Japan Foundation Asia Center
Free Admission
(Language) English only
For attendance please register here:
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSdXho23tlCoizhLsEY-a_V8CEQ5moeFFBIwlxkfF1zPmRD2jQ/viewform

About the speakers
Thongchai Winichakul is Emeritus Professor of History at the University of Wisconsin-Madison. His book Siam Mapped: A History of the Geo-Body of a Nation (1994) was awarded the Harry J Benda Prize from the Association for Asian Studies in 1995, and the Grand Prize from the Asian Affairs Research Council (Japan) in 2004. Thongchai is an intellectual historian, interested in the intellectual foundation of modern Siam, as the process of the various encounters between the indigenous and the modern forms of knowledge in the mid- 19th to early 20th century. Currently he is exploring the transformation to the modern rule of law in Siam. His forthcoming book, Moments of Silence: The Unforgetting of the October 6 Massacre in Bangkok, will be published in March 2020.

Irwan Ahmett and Tita Salina are Jakarta-based artists. Their initial works focused on the issue of urban public space. As vagabond cosmopolitans they have participated in residency programs in Japan, South Korea, New Zealand, Taiwan, the Netherlands and Poland. They utilize their high mobility as the primary vehicle in their art practice. Their long-term project reflects the geopolitical clashes in the Ring of Fire in the Pacific Rim, which has encouraged their works to be connected with more complex issues relating to humanity, injustice and ecology.

Born in 1982, Kumiko Idaka is an independent curator based in Aichi, Japan. She was a curator at the Yamaguchi Center for Arts and Media [YCAM] from 2012 to 2019. Her notable exhibitions include The Story of Japanese Textiles (HOSOO Gallery, Kyoto, 2019), The Breathing of Maps (2018), Fabrics as Demiurges (2017), Moon Kyungwon + YCAM: Promise Park — Rendering of Future Patterns (2015), and Media/Art Kitchen Yamaguchi: Open Call Laboratory — An Exploration into Social Anthropology in Asia (2014). She is currently working in the field of textiles, researching its history in relation to Japanese cultures from a media technology perspective.

Mark Teh is a performance maker and researcher based in Kuala Lumpur, Malaysia. His diverse, collaborative projects address the issues of history, memory, counter-mappings, and urban contexts – often taking on documentary and speculative forms. His practice is situated in performance, but also operates via exhibitions, education, writing, and curating. His projects have recently been presented at Salihara Jakarta (2019), Yamaguchi Center for Arts and Media [YCAM] (2019), TPAM Yokohama (2019), BIPAM Bangkok (2018), Fast Forward Festival, Athens (2018), MMCA Seoul (2018), Haus de Kulturen der Welt Berlin (2017) and Bangkok Arts & Culture Centre (2017), amongst others. Mark is a member of Five Arts Centre, a collective of interdisciplinary artists, producers and activists in Malaysia.

การประชุมสัมมนา
Between Geo-Bodies and the Unforgetting
โดย ธงชัย วินิจจะกูล, Irwan Ahmett, Tita Salina, Kumiko Idaka และ Mark Teh
วันเสาร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 14:00-17:00 น.
ห้องไอยรา, พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน

เพื่อเป็นบทสรุปของโครงการ The Breathing of Maps ซึ่งเคยจัดมาแล้วที่ยามากุจิและโตเกียวในประเทศญี่ปุ่น และที่เชียงใหม่เป็นการประชุมสัมมนาครั้งนี้จะสะท้อนภาพรวมโดยภัณฑารักษ์ Kumiko Idaka และ Mark Teh และบรรยายเกี่ยวกับแผนที่ อำนาจ และภูมิกายาโดยนักประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง ธงชัย วินิจจะกูล – ผู้เขียนหนังสือ กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (1994) ซึ่งเป็นเข็มทิศหลักของโครงการนี้ควบคู่ไปกับนักคติชนวิทยาชาวญี่ปุ่น Tsuneichi Miyamoto’s(1907-1981) เจ้าของผลงาน The Forgotten Japanese: Encounters with Rural Life and Folklore(2010)

ในบทสุดท้ายของการประชุมสัมมนาครั้งนี้ ธงชัย, Kumiko และ Mark ร่วมด้วยศิลปินจากจาการ์ตา Irwan Ahmett และ Tita Salina จะมาหารือเกี่ยวกับความบอบช้ำและอึดอัดของประวัติศาสตร์ในอินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย และไทย และความสัมพันธ์ของ 'ความไม่ลืม' ซึ่งคำว่า 'ความไม่ลืม' นั้นคือคำของธงชัยในหนังสือเล่มใหม่ว่า – ความไร้ความสามารถที่จะจำหรือลืมได้ การถูกระงับในสถานะที่จำกัดนี้เป็นประสบการณ์ที่จะต้องเก็บไว้หรือปิดบังเพราะพวกเขาไม่ได้เชื่อมโยงกับความทรงจำที่มีความหมายทางสังคมที่ชัดเจนภายใต้ระบอบการปกครองของความจริงที่มีอยู่

การประชุมสัมมนาครั้งนี้จัดโดย หอศิลป์บ้านจิมทอมป์สัน ร่วมกับ The Japan Foundation Asia Center
การบรรยายเป็นภาษาอังกฤษ
ไม่มีค่าใช้จ่าย
ประสงค์เข้าร่วมสัมนา กรุณาลงทะเบียนที่:
https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSdXho23tlCoizhLsEY-a_V8CEQ5moeFFBIwlxkfF1zPmRD2jQ/viewform

เกี่ยวกับผู้บรรยาย
ธงชัย วินิจจะกูล ศาสตราจารย์กิตติคุณด้านประวัติศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน หนังสือกำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (1994) ได้รับรางวัล Harry J Benda จากAssociation for Asian Studies ในปี1995และรางวัลใหญ่จาก Asian Affairs Research Council (ญี่ปุ่น) ในปี 2004 ธงชัยเป็นนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ที่สนใจในพื้นฐานทางปัญญาของสยามสมัยใหม่ในกระบวนการของการเผชิญหน้าระหว่างชนพื้นเมืองและรูปแบบความรู้สมัยใหม่ในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ขณะนี้เขากำลังสำรวจเรื่องการเปลี่ยนแปลงสู่หลักนิติธรรมในสยามสมัยใหม่ หนังสือเล่มใหม่ Moments of Silence: The Unforgetting of the October 6 Massacre in Bangkok กำลังจะตีพิมพ์ในเดือนมีนาคม 2020

Irwan Ahmett และ Tita Salina เป็นศิลปินจาการ์ตา งานแรกของพวกเขามุ่งเน้นไปที่ปัญหาของพื้นที่สาธารณะในเมือง ในฐานะที่เป็นคนเร่ร่อนชาวต่างชาติ พวกเขาได้เข้าร่วมในโครงการเรสซิเด้นซี่ในญี่ปุ่น เกาหลีใต้ นิวซีแลนด์ ไต้หวัน เนเธอร์แลนด์ และโปแลนด์ พวกเขาใช้ความคล่องแคล่วเป็นพาหนะหลักในการฝึกฝนศิลปะ โครงการระยะยาวของพวกเขาสะท้อนให้เห็นถึงการปะทะทางภูมิรัฐศาสตร์ในวงแหวนแห่งไฟแปซิฟิก ซึ่งสนับสนุนให้งานของพวกเขาเชื่อมโยงกับประเด็นที่ซับซ้อนมากขึ้นเกี่ยวกับมนุษยชาติ ความอยุติธรรม และนิเวศวิทยา

Kumiko Idaka เกิดในปี 1982 เป็นภัณฑารักษ์อิสระที่เมืองไอจิ ประเทศญี่ปุ่น เธอเป็นภัณฑารักษ์ที่ Yamaguchi Center for Arts and Media [YCAM] ในปี 2012 ถึง 2019 ผลงานที่โดดเด่นของเธอได้แก่นิทรรศการ The Story of Japanese Textiles (HOSOO Gallery, เกียวโต, 2019), The Breathing of Maps(2018), Fabrics as Demiurges (2017), Moon Kyungwon + YCAM: Promise Park - Rendering of Future Patterns(2015) และ Media/Art Kitchen Yamaguchi: Open Call Laboratory — An Exploration into Social Anthropology in Asia(2014) ปัจจุบันเธอทำงานด้านสิ่งทอโดยทำการค้นคว้าเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของประวัติศาสตร์สิ่งทอกับวัฒนธรรมญี่ปุ่นจากมุมมองของมีเดียเทคโนโลยี

Mark Teh เป็นผู้ผลิตการแสดง และนักวิจัยในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย หลากหลายโครงการที่เขาร่วมมือทำนั้นกล่าวถึงประเด็นของประวัติศาสตร์ ความทรงจำ การทำแผนที่ และบริบทของเมือง มักจะทำในรูปแบบสารคดีและทฤษฎี ผลงานส่วนมากของเขาจะออกมาในรูปแบบการแสดงและบางครั้งผ่านนิทรรศการ การสอน การเขียน และการกำกับงาน งานล่าสุดของเขาได้จัดขึ้นที่ Salihara จาการ์ตา (2019), Yamaguchi Center for Arts and Media [YCAM] (2019), TPAM โยโกฮาม่า (2019), BIPAM กรุงเทพมหานคร (2018), Fast Forward Festival เอเธนส์ (2018), MMCA กรุงโซล (2018), Haus de Kulturen der Welt เบอร์ลิน (2017) และหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (2017) และอื่น ๆ Mark เป็นสมาชิกของ Five Arts Center กลุ่มศิลปินสหศาสตร์ศิลป์ ผู้ผลิตการแสดง และนักกิจกรรมในมาเลเซีย

ข่าวประชาสัมพันธ์ : หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน : The Jim Thompson House

สัมมนา "Between Geo-Bodies and the Unforgetting"

Seminar date: 
01 ก.พ. 2020 14:00 to 17:00
File attachments: 

Members Online

There are currently 0 users online.